[EN] ulab EP1 Getting Started

For ESP8266’s MicroPython to perform mathematical calculations like using Python’s numpy library, MicroPython with ulab must be installed. You can download firmware for ESP8266 HERE. For normal ESP32 and with additional PSRAM (SPIRAM).

This article is an introduction to ulab and an overview of the libraries within ulab for further application.

(Figure. 1 MicroPython+ulab firmware on RSP8266

[TH] ulab v3.0

จากบทความ ulab ก่อนหน้านี้จะพบว่า Micropython สามารถใช้งานคำสั่งเกี่ยวกับการประมวลผลชุดข้อมูลเหมือนกับใช้ใน Numpy ได้ผ่านทางไลบรารี ulab ซึ่งก่อนหน้านี้ทีมผู้เขียนใช้งานรุ่น 0.54.0 ซึ่งเก่ากว่ารุ่นปัจจุบัน คือ 3.0.1 ทำให้เกิดบทความนี้ขึ้นมา โดยบทความกล่าวถึงวิธีการสร้าง Micropython ที่ผนวกไลบรารี ulab เข้าไป และใช้งานกับ esp32 รุ่นที่มี SPIRAM

ภาพที่ 1 รายการโมดูลของ ulab

ulab3

จากภาพที่ 1 จะพบว่า โครงสร้างไลบรารีของ ulab เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทำให้การเขียนโปรแกรมจากตัวอย่างก่อนหน้านี้ต้องมีการปรับเปลี่ยน ซึ่งภายใต้ ulab จะมีไลบรารีของ numpy และ scipy เข้ามา ซึ่งรายละเอียดของ numpy ที่รองรับเป็นดังนี้

[EN] Hi, MaixPy

This article introduces the features of the Sipeed M1w dock suit board, which is a board designed to process AI on edge devices, enabling IoT applications to support artificial intelligence computing by using the KPU K210 chip as the core of computing.

(Figure. 1)

[TH] QRCode Detected!

บทความนี้อธิบายวิธีการใช้ OpenCV เพื่อค้นหา QRCode จากภาพที่ได้จาก Web Camera ที่พ่วงต่อจากพอร์ต USB ของ Raspberry Pi เมื่อพบ QRCode ในภาพจะทำการถอดรหัสและแสดงผลข้อความที่ถอดรหัสได้ โดยตัวอย่างของบทความนี้ประกอบด้วยตัวอย่างการอ่านแสดงผลจากกล้องเว็บ และออกจากโปรแกรมด้วยการกดแป้น ESC กับตัวอย่างการค้นหารหัส QRCode และถอดรหัสข้อความภายในภาพพร้อมจัดเก็บผลลัพธ์ของภาพลงไฟล์ภาพ

ภาพที่ 1

[TH] Speech to Text & Text to Speech

บทความนี้เป็นตัวอย่างการประยุกต์ใช้ภาษาไพธอนเพื่อเรียกใช้บริการการแปลงเสียงพูดเป็นข้อความหลังจากนั้นส่งข้อความไปให้บริการแปลงข้อความเป็นเสียงของ Google สร้างไฟเสียง mp3 กลับมา สุดท้ายใช้ pygame เล่นเสียงพูดออกทางลำโพง โดยทำงานบนระบบปฏิบัติการ Windows

[TH] Data Science Ep1 Pandas

บทความนี้เป็นการใช้งานคลังไลบรารี Pandas ของภาษาไพธอนโดยใช้บอร์ด Raspberry Pi 3 B+ เป็นอุปกรณ์ทำงาน โดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานกับไพธอนของระบบปฏิบัติการ Windows, macOS หรือ Linux ได้ ซึ่งบทความนี้จะแบ่งเป็นหลายตอนเหมือนกับคลังไลบรารี ulab ที่ผ่านมา โดยในบทความตอนที่ 1 กล่าวถึงคุณสมัติของ Pandas, การติดตั้ง และโครงสร้างข้อมูลของ Pandas

[TH] How to calculate the percentage of head or tails occurrence of a one coin.

บทความนี้เป็นตัวอย่างโปรแกรมภาษาไพธอนเพื่อคำนวณหาร้อยละของการเกิดของด้านหัวหรือก้อยของการโยนเหรียญที่มี 2 ด้านจำนวน n ครั้ง

[TH] Installing NumPy and Matplotlib on Raspberry Pi

บทความนี้แนะนำการติดตั้งไลบรารี NumPy และ Matplotlib บนบอร์ด Raspberry Pi เพื่อใช้งานทางด้านการคำนวณ (อ่านตัวอย่างการใช้ numpy สำหรับอุปกรณ์ขนาดเล็กได้จากบทความ ulab) และแสดงผล โดยในบทความกล่าวถึงการติดตั้ง การอัพเกรด และการใช้งานเบื้องต้นเพื่อเป็นแนวทางในการนำไปใช้งานต่อไป ส่วนการใช้งาน Raspberry Pi กับการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนสามารถหาอ่านเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือสนับสนุนทีมงานเราได้ด้วยการซื้อหนังสือ หรือหาบอร์ด Raspberry Pi 4 รุ่น 4GB สามารถสั่งซื้อได้จากร้ายค้าต่าง ๆ หรือจากที่นี่ครับ ส่วนผู้เขียนใช้งาน Raspberry Pi 3 B+