[EN]How to render the Thai string correctly?

From the article on how to use u8g2 that can render Thai string through the drawUTF8() function of the u8g2 library, the rendering is not correct as shown in Figure 1, therefore, the code of libraries needs additionally adjusted to render correctly as in Figure 2.

Figure 1 drawUTF8() display before adjustment
Figure 2 drawUTF8() after adjustment

[EN] LittleFS Filesystem

The article discusses the use of the LittleFS library and introduces a library developed for use with the esp32 microcontroller, which includes a plugin for the Arduino IDE for uploading files to the microcontroller’s ROM. Make it convenient to load data to store and run. For this reason, if programmers find it difficult to transcode HTML/CSS/JavaScript to be a string manually and switching to uploading files to esp32 and reading the web files directly to use will be something that will require training to use LittleFS as a reliable library.


[TH] Queue data structure with array and Singly Linked List.

บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบคิว (Queue) ซึ่งได้เคยเขียนถึงไปในบทความ Queue Data Structure ที่เป็นภาษาไพธอนและถูกนำไปใช้บ่อยกับตัวอย่างของ MicroPython แต่บทความนี้เป็นภาษา C ที่เขียนผ่าน Arduino IDE เพื่อใช้งานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 โดยยกตัวอย่างการนำโครงสร้างแถวลำดับ และลิงค์ลิสต์เดี่ยวมาเป็นโครงสร้างข้อมูลแบบคิว และคงเป็นบทความสุดท้ายบน JarutEx แล้วครับ

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S2, LGY8P326P และ SAM-D21

[TH] Stack data structure with Singly Linked List.

บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก (Stack) เพื่อเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C บนแพล็ตฟอร์มต่าง ๆ โดยใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวเป็นที่เก็บข้อมูลของสแต็กพร้อมตัวอย่างการแถวลำดับเป็นที่เก็บข้อมูล และทดสอบการทำงานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 และ 2 ส่วนกรณีที่ต้องการไปใช้กับแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ยังคงสามารถดัดแปลงโค้ดเพื่อนำไปใช้ได้เช่นเดียวกัน

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32, LGY8P326P และ SAM-D21

[TH] Arduino: Using the ST7735s module with an ESP32-S2 via the TFT_eSPI library.

บทความนี้เป็นการใช้โมดูล ST7735s กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S2 ผ่านไลบรารี TFT_eSPI โดยในก่อนหน้านี้ได้กล่าวถึงการใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 และ STM32F103C ไปแล้ว และโมดูล TFT ที่เลือกใช้เป็น REDTAB80x160 (ได้เพิ่มเติมโค้ดสำหรับ GREENTAB80x160 ในตอนท้ายบทความ) แต่สามารถปรับดารตั้งค่าเป็นโมดูลอื่น ๆ ได้ โดยดูรายละเอียดจากไฟล์ User_Setup.h ของไลบรารี TFT_eSPI ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 โมดูลแสดงผล TFT ขนาด 0.96″ แบบ IPS กับ ESP32-S2

[TH] Arduino: ควบคุมการเคลื่อนที่หุ่นยนต์รถผ่านบราวเซอร์ด้วย esp8266 Part 2

จากบทความก่อนหน้าที่ใช้ esp8266 เพียงตัวเดียวสำหรับการควบคุม Agent ซึ่งจำนวนขาที่ไมโครคอนโทรลเลอร์ esp8266 (ตามที่เขียนไว้ในบทความเกี่ยวกับ machine.Pin ของ MicroPython) มีให้นั้นมีจำกัด และหลายขาถูกใช้งานขณะเริ่มระบบทำให้เกิดความผิดพลาดที่ไม่ได้ตั้งใจ เช่น ล้อหมุนเมื่อระบบเริ่มทำงาน และหยุดเมื่อระบบทำการบูตเสร็จ เป็นต้น ดังนั้น ในบทความนี้จึงเพิ่มบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P เข้ามา ดังภาพที่ 1 หรือผู้อ่านอาจจะเปลี่ยนเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูล Arduino อื่น ๆ แทนได้ เช่น Arduino Nano หรือ Arduino Uno เป็นต้น โดยให้ LGT8F328P นั้นเป็นส่วนของ Actuator ที่ทำหน้าที่เคลื่อนที่ไปในสิ่งแวดล้อม คือ สามารถสั่งให้เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา และหยุดได้ ทำให้ลดภาระการทำงานของ esp8266 ลง และให้ทำงานตอบสนองการสื่อสาร WiFi ได้มากขึ้น

ภาพที่ 1 บอร์ด LGT8F328P ที่นำมาประกอบเข้ากับระบบหุ่นยนต์รถเพื่อใช้ควบคุมการเคลื่อนที่

[TH] Arduino: ใช้ SoftwareSerial กับ STM32F030F4

จากบทความแนะนำการใช้บอร์ด STM32F030F4P6 ที่ใช้การสื่อสารพอร์ตอนุกรมด้วยการใช้ไลบรารีเพิ่มเติมซึ่งทำให้ปริมาณหน่วยความจำไม่มากพอสำหรับใช้งาน ทางเราเลยลองเปลี่ยนมาใช้ SoftwareSerial ของเฟรมเวิร์ก Arduino และใช้ขา PA10 และ PA9 ต่อเข้ากับ RX และ TX ของโมดูลแปลง USB-RS232 ดังภาพที่ 1 และทดลองใช้งานตามการตั้งค่าของ Arduino IDE ดังภาพที่ 2 พร้อมทั้งสั่ง Toggle หลอด LED ที่เชื่อมต่อกับขา PA4 พบว่า เมื่อคอมไพล์โปรแกรมตัวอย่างแล้วมีการใช้ ใช้หน่วยความจำ ROM และ RAM เป็น 80% และ 21% ตามลำดับดังการรายงานจาก Arduino IDE ดังต่อไปนี้

Sketch uses 13188 bytes (80%) of program storage space. Maximum is 16384 bytes.
Global variables use 876 bytes (21%) of dynamic memory, leaving 3220 bytes for local variables. Maximum is 4096 bytes.
ภาพที่ 1 บอร์ด STM32F030F4P6 กับโมดูล CH340E

[TH] Arduino: ควบคุมการเคลื่อนที่หุ่นยนต์รถผ่านบราวเซอร์ด้วย esp8266

จากบทความการควบคุมหุ่นยนต์รถ 2 ล้อแบบ Servo ใน ESP8266+RoboServo และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงใน VisionRobo Car: Drive Motor ทางเราได้นำหุ่นยนต์รถในตัวที่ 2 เปลี่ยนจาก Raspberry Pi เป็น ESP8266 เพื่อสั่งงานผ่าน WiFi โดยใช้แนวทางจาก บทความ ESP-01s+Relay มาเขียนใหม่ด้วยภาษา C/C++ ของ Arduino ด้วยคลาส WebServer จากที่ในบทความของ ESP8266 เป็น MicroPython ดังนั้น เมื่อทำตามบทความนี้จนเสร็จจะสามารถสั่งงานหุ่นบนต์ในภาพตัวอย่างที่ 1 ได้ด้วยการเชื่อมต่อโทรศัพท์หรืออุปกรณ์สื่อสารไปที่ 192.168.4.1 และสั่งให้เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา หรือหยุดได้

ภาพที่ 1 ตัวอย่างหุ่นยนต์รถสำหรับการทดลองในบทความนี้

[TH] Generate temperature and humidity graphs with data from Singly Linked List.

จากบทความโครงสร้างข้อมูล Singly Linked List, การใช้โมดูลเซ็นเซอร์ DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103 และการใช้โมดูลแสดงผล TFT ที่ใช้ตัวควบคุม st7735s จึงเกิดเป็นแนวคิดของบทความนี้ คือ นำตัวอย่างการใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวที่เก็บค่าอุณหภูมิและความชื้นมาหาค่ามากสุด น้อยสุด ค่าเฉลี่ย พร้อมทั้งข้อมูลในลิสต์มาแสดงในรูปแบบของกราฟดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลลัพธ์ที่ได้จากบทความนี้

[TH] Singly Linked List

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมภาษา C/C++ กับบอร์ด Arduino Nano, Arduino Uno, LGT8F328P หรือบอร์ดอื่น ๆ และแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ที่ใช้ภาษา C ได้ โดยในบทความนี้กล่าวถึงวิธีการใช้โครงสร้าง struct สำหรับเก็บข้อมูลและตัวชี้ที่ใช้สำหรับชี้ไปยังตำแหน่งของหน่วยความจำ และวิธีการบริหารหน่วยความจำได้แก่ การจองหน่วยความจำ การเข้าถึงหน่วยความจำ และการยกเลิกการใช้หน่วยความจำเพื่อสร้างวิธีการจัดเก้บข้อมูลแบบลิงค์ลิวต์เดียว (Singly Linked List) พร้อมทั้งตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับเก็บรายการค่าอุณหภูมิและความชื้นจากโมดูล DHT11 ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ชิพ LGT8F328P กับโมดูล DHT11