[EN] Tic-Tac-Toe

This article is a collection of examples of Tic-Tac-Toe games that our team uses to teach game development in different languages ​​as appropriate for the group of learners. But most of them use Python for teaching because it is easier to explain and write than other languages. In addition to wanting to see how it can be implemented on other platforms, we used an example with the MicroPython of a board we named ml4m. Based on this board, TensorFlow Lite is installed on an ESP32 with a 4MB ROM. The board looks like Figure 1.

(Figure. 1 ml4m for testing Tic-Tac-Toe)

[EN] Temperature and humidity indicator bar

This article is an example program for cases where you want to display the temperature and humidity bar as shown in Figure 1 with MicroPython and esp32 board with OLED. How to write? The equipment in this experiment used DHT22 as a humidity and temperature measurement device. The board is connected to the I2C bus to communicate with the OLED via pins GPIO4 and GPIO5 for SCL and SDA respectively. At the same time, the signal pin of DHT22 is connected to pin GPIO15 for communication between the sensor and the microcontroller.

(Figure. 1 Example output of temperature and humidity bar display)

[EN] Queue Data Structure

This article introduces the use of the list class in Micropython as a queue data structure with a limited number of members. It works according to the FIFO (First-In-First-Out) principle, which can be applied in a variety of applications, such as being used as a storage, and when the data is full but we need to insert new data, the old data must be pop out. The example in this article uses the dCore-miniML board (Figure 1) to read the temperature of the chip and store it in a Queue structure and display it in a bar graph and Micropython implemented firmware version 1.16 (2021-06-23) for the ESP Module (SPIRAM).

(Figure. 1 An example of drawing a graph with data stored in a queued data structure)

[TH] Try the SoftHost USB library for ESP32.

บทความนี้เป็นตัวอย่างการนำ ESP32 Soft Host ของ nathalis มาทดลองใช้งานและทดลองแสดงผลที่จอแสดงผล OLED ที่มีความละเอียด 128×64 จุด ดังภาพที่ 1 เพื่อรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ หรือเมาส์ ทำให้ใช้ GPIO เพียงไม่กี่ขาแต่สามารถรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ที่มีจำนวนปุ่มที่เยอะได้ ซึ่งโดยปกติแล้วตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ไม่รองรับการทำเชื่อมต่อกับ USB โดยตรงจึงต้องอาศัยการเขียนโปรแกรมด้วยการใช้ตัวตั้งเวลาหรือ Timer มาตรวจสอบสถานะของสายสัญญาณขา D- และ D+ เพื่อนำมาประกอบกันเป็นข้อมูลในระดับไบต์และนำมาประกอบกันเป็นแพ็คของข้อมูลเพื่อทำการตีความต่อไป

ภาพที่ 1 อุปกรณ์และบอร์ดที่เชื่อมต่อกันเพื่อเป็นตัวอย่างในบทความนี้

[EN] PyGlet

pyglet is a Python library to create windows and cross-platform multimedia on Windows (Windows), MacOS (macOS) and Linux (Linux) for developing games or visualization applications. The library itself supports creating windows, integration with users through an event-based system, support OpenGL graphics, image/video loading support, and playing music. This article discusses installing and using pyglet on Raspberry Pi 3 B+ and Raspberry Pi 4 as a test device.

(Figure. 1 Example from 1-6)

[TH] How to render the Thai string correctly?

จากบทความการใช้งาน u8g2 ที่สามารถเรนเดอร์ (Render) ภาษาไทย (Thai string) ได้ผ่านทางฟังก์ชัน drawUTF8() ของไลบรารี u8g2 แต่การแสดงผลไม่ถูกต้อง ดังภาพที่ 1 ด้วยเหตุนี้จึงต้องปรับปรุงโค้ดของไลบรารีเพิ่มเติมเพื่อให้การแสดงผลถูกต้องดังภาพที่ 2

ภาพที่ 1 การแสดงผลของ drawUTF8() ก่อนปรับปรุง
ภาพที่ 2 การแสดงผลของ drawUTF8() หลังปรับปรุง

[TH] Simple MineSweeper

บทความนี้เป็นการทดลองสร้างเกม Simple MineSweeper ดังภาพที่ 1 ซึ่งใช้บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 กับจอแสดงผล st7735 แบบ REDTAB ขนาด 1.8″ ความละเอียดของการแสดงผลเป็น 128×160 อันเป็นฮาร์ดแวร์เดียวกับเกม Simple Tetris [ตอนที่ 1, ตอนที่ 2 และตอนที่ 3] ที่ได้กล่าวไปก่อนหน้านี้ โดยยังคงใช้ MicroPython เป็นหลักเช่นเดิม และการอธิบายจะเริ่มเป็นขั้นตอน ๆ ไป จากสร้างหน้าจอ สุ่มค่า การนับค่า การควบคุมการเคลื่อนที่ การเลื่อนกรอบตัวเลือก การปิดไม่ให้เห็นข้อมูล การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการระบุว่าตำแหน่งใดน่าจะเป็นระเบิด การเลือกเปิด และการนับคะแนนเมื่อจบเกม

ตัวเกม Simple MineSweeper เป็นเกมแรก ๆ ที่พวกเราทำเลียนแบบเพื่อศึกษาวิธีคิดและพัฒนาเทคนิคการเขียนโปรแกรมมาตั้งแต่ยุคระบบปฏิบัติการ DOS และ Windows ที่เป็น GUI ของ DOS ซึ่งตอนนั้นเขียนและทำงานบนระบบปฏิบัติการ DOS พร้อมทั้งต้องเปลี่ยนโหมดเป็นกราฟิกส์โหมด ติดต่อกับเมาส์ และสั่งวาดพิกเซลเอง (จะว่าไปแล้วก็เหมือนกันกับการเขียนบนบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 แหละครับ แต่ไม่มีระบบปฏิบัติการให้ใช้) … ว่าแล้วมาทดลองสร้างกันดีกว่าครับ ดูจะรำลึกอดีตกันเนิ่นนานเลยทีเดียว

ภาพที่ 1 เกม simple mineSweeper

[TH] Simple Tetris Ep.3

บทความตอนสุดท้ายของการทำเกมเตตริสแบบง่าย (Simple Tetris) ที่ใช้ MicroPython กับไมโครคอนโทรลเลอร์ esp32 ตามที่ได้เขียนถึงในตอนที่ 1 และ 2 จาก 2 บทความแรกนั้น ผู้อ่านได้เรียนรู้การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การวาดวัตถุที่ตกลงมาทั้ง 7 ชนิด และการควบคุมวัตถุให้เคลื่อนที่ไปทางซ้าย ขวา และการหมุน ส่วนในบทความที่ 2 ได้ให้วัตถุตกลงมาจากด้านบนและเก็บสถานะตำแหน่งของวัตถุเอาไว้ และในบทความนี้เป็นการทำให้วัตถุที่ตกลงมานั้นซ้อนกันได้ พร้อมทั้งการเลื่อนซ้าย ขวา และการหมุนวัตถุจะตรวจสอบการชนกับวัตถุเก่าที่เคยตกลงมาก่อน พร้อมทั้งตรวจสอบว่าเมื่อวัตถุตกลงมาจนถึงด้านล่างแล้วนั้นมีแถวใดบ้างที่ไม่มีช่องว่าง ถ้าพบแถวที่ไม่มีช่องว่างจะทำการลบแถวนั้นออกไป และสุดท้ายได้เพิ่มส่วนของการตรวจสอบการสิ้นสุดเกมในกรณีที่ไม่มีที่จะให้วัตถุตกลงมาและเคลื่อนที่ได้อีกดังภาพที่ 1 เป็นอันสิ้นสุดกระบวนการสร้างเกมแบบง่าย ๆ ของเรา

ภาพที่ 1 ตัวอย่างเกมของบทความนี้

[TH] Simple Tetris Ep.2

จากตอนที่แล้วเราได้วาดฉากหลัง การสุ่มวัตถุ การวาดวัตถุ การเลื่อนซ้ายขวา และการหมุนไปแล้ว ในบทความตอนที่ 2 ซึ่งเป็นตอนก่อนตอนสุดท้ายของชุดการทำเกม Tetris โดยเนื้อหาเป็นเรื่องของการสร้างฉากหลังเป็นโครงสร้างข้อมูลตาราง ถ้าวัตถุตกลงมาจนถึงล่างสุดจะแปลงวัตถุนั้นให้เป็นข้อมูลหนึ่งของตาราง ดังภาพที่ 1และปรับปรุงเรื่องวิธีการตกลงมาของวัตถุและการควบคุม/แสดงผลวัตถุใหม่ด้วยการใช้ตัวตั้งเวลา โดยยังไม่ตรวจสอบการชนจากการเลื่อนซ้าย/ขวา การตรวจสอบว่าวัตถุตกลงมาซ้อนกับวัตถุก่อนหน้านี้หรือไม่การหมุน และการตัดแถวซึ่งจะกล่าวถึงในบทความตอนสุดท้ายหรือ Simple Tetris Ep.3

ภาพที่ 1 ตัวอย่างเกมของบทความนี้

[TH] Simple Tetris Ep.1

บทความนี้แนะนำการเขียนเกมเตตริส (Tetris) แบบง่าย โดยแสดงผลในตารางขนาด กว้าง 10 ช่อง และสูง 16 ช่อง ตามภาพที่ 1 โดยใช้บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ esp32 ที่ต่อกับจอแสดงผลแบบ ST7735 และสวิตช์สำหรับควบคุมอีก 8 ตัว ที่สำคัญคือ เขียนด้วยภาษาไพธอนผ่าน MicroPython ที่คอมไพล์ให้ใช้ชุดไลบรารี st7735_mpy ซึ่งในบทความนี้กล่าวถึงการจัดเก็บวัตถุทั้ง 7 แบบที่เป็นสิ่งของหรือวัตถุที่ตกลงมาให้รองรับการแสดงผลและการหมุนวัตถุ กับการเลื่อนวัตถุไปทางซ้ายและขวา ส่วนการควบคุมและตรรกะของเกม Tetris จะกล่าวในบทความถัดไป

ภาพที่ 1 ตัวอย่างเกมของบทความนี้