[TH] ESP-IDF Ep.8 : DAC Output Part 2

บทความนี้กล่าวถึงการใช้งาน GPIO ของ ESP32 เพื่อทำหน้าที่นำออกสัญญาณแอนาล็อกผ่านทางโมดูล DAC ขนาด 8 บิตของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ต่อจากคราวที่แล้ว โดยในบทความนี้เป็นการใช้การสร้างคลื่นแบบ Cosine เพื่อนำออกสัญญาณแอนาล็อกของไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านลำโพง และแสดงให้เห็นรูปของคลื่นที่ได้จากจอแสดงผลของออสซิโลสโคป ส่วนบอร์ดทดลองยังคงใช้ตามภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การต่อใช้งานประกอบตัวอย่างการใช้งาน DAC

[TH] ESP-IDF Ep.7 : DAC Output

บทความนี้กล่าวถึงการใช้งาน GPIO ของ ESP32 เพื่อทำหน้าที่นำออกสัญญาณแอนาล็อกผ่านทางโมดูล DAC ขนาด 8 บิตของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 โดยทดลองสร้างเป็นกราฟฟันปลา (ดังภาพที่ 7) เพื่อส่งแรงดันดังกล่าวไปยังโมดูลลำโพงดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การต่อใช้งานประกอบตัวอย่างการใช้งาน DAC

[TH] ESP-IDF Ep.6 : ADC Input

บทความนี้กล่าวถึงการใช้งาน GPIO ของ ESP32 เพื่อทำหน้าที่เป็นการนำเข้าสัญญาณแอนาล็อก โดยใช้วงจรการนำเข้าแรงดันจากการปรับค่าด้วยตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ดังภาพที่ 1 ดังนั้น ในบทความนี้เราจะได้รู้จักการใช้คำสั่งเกี่ยวกับ ADC ของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 และการตั้งค่าเกี่ยวกับการปรับแต่งค่าของ ADC ใน menuconfig

ภาพที่ 1 การต่อใช้งานประกอบตัวอย่างในบทความนี้

[TH] ESP-IDF Ep.5 : GPIO Input

บทความนี้กล่าวถึงการใช้งาน GPIO ของ ESP32 เพื่อทำหน้าที่เป็นการนำเข้าสัญญาณดิจิทัล โดยใช้วงจรของคีย์แพดที่เป็นสวิตช์จำนวน 8 ตัวที่ทำมาต่อให้เป็นเหมือนเกมแพ็ดดังภาพที่ 1

Switches Game Pad
ภาพที่ 1 สวิตช์ที่นำมาใช้ประกอบบทความ

[EN] ESP-IDF Ep.1: ESP-IDF on Raspberry Pi

This article is a step-by-step guide to installing ESP-IDF on a Raspberry Pi 3 or 4 board with the Raspbian operating system (Or can be applied to other operating systems with AMD/Intel processors) to be used as a C++ interpreter for developing programs for the ESP32 board, which is called bare metal or used to compile MicroPython, in particular mpy-cross, a translator from Python (.py) to bytecode (.mpy), which protects source code, allowing faster execution of instructions. (because it has been translated before) and the file size is smaller.

(Figure. 1 Terminal)

[TH] ESP-IDF Ep.3 : GPIO Output

บทความนี้กล่าวถึงการตั้งค่า GPIO และการส่งสถานะดิจิทัล 0 หรือ 1 ไปยังพอร์ต โดยเริ่มจากการสั่งให้หลอดแอลอีดีสว่างและดับ โดยเชื่อมต่อกับวงจรแอลอีดีภายนอกบอร์ดดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การทดลองขับหลอดแอลอีดีจาก esp32

[TH] ulab v3.0

จากบทความ ulab ก่อนหน้านี้จะพบว่า Micropython สามารถใช้งานคำสั่งเกี่ยวกับการประมวลผลชุดข้อมูลเหมือนกับใช้ใน Numpy ได้ผ่านทางไลบรารี ulab ซึ่งก่อนหน้านี้ทีมผู้เขียนใช้งานรุ่น 0.54.0 ซึ่งเก่ากว่ารุ่นปัจจุบัน คือ 3.0.1 ทำให้เกิดบทความนี้ขึ้นมา โดยบทความกล่าวถึงวิธีการสร้าง Micropython ที่ผนวกไลบรารี ulab เข้าไป และใช้งานกับ esp32 รุ่นที่มี SPIRAM

ภาพที่ 1 รายการโมดูลของ ulab

ulab3

จากภาพที่ 1 จะพบว่า โครงสร้างไลบรารีของ ulab เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทำให้การเขียนโปรแกรมจากตัวอย่างก่อนหน้านี้ต้องมีการปรับเปลี่ยน ซึ่งภายใต้ ulab จะมีไลบรารีของ numpy และ scipy เข้ามา ซึ่งรายละเอียดของ numpy ที่รองรับเป็นดังนี้

[TH] ESP-IDF Ep.2 : Hello World!

บทความนี้ต่อเนื่องจากการติดตั้ง ESP-IDF เพื่อทดลองเขียนโค้ด คอมไพล์ และอัพโหลดเข้าบอร์ด ESP32 เพื่อให้ใจขั้นตอนของการพัฒนาโปรแกรมภาษา C ของบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32

ภาพที่ 1 บอร์ด esp32+OLED

[TH] ESP-IDF Ep.1: ESP-IDF on Raspberry Pi

บทความนี้เป็นขั้นตอนการติดตั้ง ESP-IDF บนบอร์ด Raspberry Pi 3 หรือ 4 ที่ติดตั้ง Raspbian เป็นระบบปฏิบัติการ (หรือประยุกต์เข้ากับการติดตั้งบนระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ของเครื่องที่ใช้หน่วยประมวลผลของ AMD/Intel ได้) เพื่อใช้เป็นตัวแปลภาษา C++ สำหรับพัฒนาโปรแกรมสำหรับบอร์ด ESP32 ซึ่งเรียกกว่า bare metal หรือใช้ในการคอมไพล์ MicroPython โดยเฉพาะตัว mpy-cross ซึ่งเป็นตัวแปลภาษาไพธอน (.py) ให้เป็นไบต์โค้ด (.mpy) ซึ่งทำให้สามารถปกป้องรหัสที่เขียน (Source code) ช่วยให้การประมวลผลคำสั่งไวขึ้น (เนื่องจากถูกแปลมาก่อนแล้ว) และขนาดของไฟล์มีขนาดเล็กลง

ภาพที่ 1 หน้าจอเมื่อเข้าใช้ Terminal