[TH] ESP-IDF Ep.1: ESP-IDF on Raspberry Pi

บทความนี้เป็นขั้นตอนการติดตั้ง ESP-IDF บนบอร์ด Raspberry Pi 3 หรือ 4 ที่ติดตั้ง Raspbian เป็นระบบปฏิบัติการ (หรือประยุกต์เข้ากับการติดตั้งบนระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ของเครื่องที่ใช้หน่วยประมวลผลของ AMD/Intel ได้) เพื่อใช้เป็นตัวแปลภาษา C++ สำหรับพัฒนาโปรแกรมสำหรับบอร์ด ESP32 ซึ่งเรียกกว่า bare metal หรือใช้ในการคอมไพล์ MicroPython โดยเฉพาะตัว mpy-cross ซึ่งเป็นตัวแปลภาษาไพธอน (.py) ให้เป็นไบต์โค้ด (.mpy) ซึ่งทำให้สามารถปกป้องรหัสที่เขียน (Source code) ช่วยให้การประมวลผลคำสั่งไวขึ้น (เนื่องจากถูกแปลมาก่อนแล้ว) และขนาดของไฟล์มีขนาดเล็กลง

ภาพที่ 1 หน้าจอเมื่อเข้าใช้ Terminal

[TH] ESP8266+PCF8583

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมภาษา Python ของ MicroPython เพื่อตั้งค่า/อ่านค่าวันที่และเวลาของ pcf8583 ซึ่งเป็น RTC ที่พวกเราชอบใช้ ซึ่งพวกเราพบว่ามีตัวอย่างที่เป็นภาษาไพธอนค่อนข้างน้อยจึงนำโค้ดตัวอย่างที่ทำไว้ออกมาให้ได้ลองศึกษากัน

ภาพที่ 1 บอร์ด ET-mini PCF8583

[TH] Arduino: ESP32/ESP8266

บทความนี้อธิบายการติดตั้งเฟรมเวิร์ก Arduino สำหรับบอร์ด ESP32 และ ESP8266 เพื่อใช้งานกับ Arduino IDE ทำให้สามารถใช้ C++ กับบอร์ดทั้ง 2 ได้ โดยบทความจะบอกขั้นตอนการติดตั้งเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจ

[TH] Let’s have fun doing time-lapse with ESP32CAM.

บทความนี้เป็นการประยุกต์ใช้ชุดบอร์ด ESP32CAM เพื่อทำการถ่ายภาพแบบต่อเนื่องโดยกำหนช่วงเวลาระหว่างการถ่ายภาพแต่ละใบหรือที่เรียกว่า time-lapse ซี่งในบทความนี้เขียนโดยใช้ภาษาไพธอน ด้วยการติดตั้งเฟิร์มแวร์ที่ถูกคอมไพล์ด้วยการผนวกไลบรารี camera สำหรับการเชื่อมต่อกับโมดูลกล้องบนบอร์ด ESP32CAM ทำให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและปรับแต่งโค้ดได้ง่าย

ภาพที่ 1 บอร์ด ESP32CAM ที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้

[TH] How To Compile MicroPython To Use With ESP32.

บทความนี้เป็นบันทึกย่อขั้นตอนการคอมไพล์ MicroPython เพื่อใช้งานกับบอร์ด ESP32 ด้วยระบบปฏิบัติการลินุกซ์ที่อยู่ในระบบปฏิบัติการ Windows 10 หรือ WSL รุ่น 1 หรือ 2 เพื่อนำไบนารีไฟล์ที่ได้ไปเขียนลงบอร์ด ESP32 ต่อไป

[TH] ulab EP 8 poly, fft and filter

บทความตอนที่ 8 เป็นตอนสุดท้ายของชุดไลบรารี ulab ที่เป็นไลบรารีคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่สามารถนำมาใช้กับ AI ได้ โดยในบทความตอนนี้กล่าวถึงโมดูลย่อย poly, fft และ filter ซึ่งได้อธิบายการทำงานของแต่ละฟังก์ชันพร้อมยกตัวอย่างการใช้งานเพื่อเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ต่อไป

[TH] ESP32 & NEO-6MV2 GPS Module

บทความนี้เป็นการใช้ ESP32 เชื่อมต่อกับโมดูลจีพีเอสผ่านทางพอร์ตสื่อสารอนุกรมลำดับที่ 2 ของ ESP32 เพื่ออ่านข้อมูลและแสดงผลข้อมูลที่ได้รับจากโมดูลจีพีเอส และแสดงความหมายที่อ่านได้ โดยตัวอย่างโปรแกรมที่ 1 เป็นการอ่านค่าจากโมดูลจีพีเอส และตัวอย่างที่ 2 เป็นการแสดงสารสนเทศที่อ่านได้จากโมดูลจีพีเอสเพื่อให้ผู้อ่านได้นำไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ภาพที่ 1 โมดูลจีพีเอส NEO-6MV2

[TH] ulab EP 7 approx

บทความตอนที่ 7 ของชุดไลบรารี ulab เป็นเรื่องของโมดูลย่อย approx ที่ใช้สำหรับการประมาณค่าของตัวเลข ผลลัพธ์ของฟังก์ชัน หรือหารากของฟังก์ชันด้วยวิธี bisect หรือ newton และการหาค่าด้วย trapz โดยในนบทความนี้กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของแต่ละฟังก์ชันพร้อมวิธีการใช้งาน และตัวอย่างโปรแกรมเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการศึกษาการใช้งานและประยุกต์ใช้ต่อไป

[TH] ulab EP 6 compare

บทความนี้เป็นตอนที่ 6 ของชุด ulab ของ MicroPython ซึ่งเป็นเรื่องของโมดูลย่อยชื่อ compare สำหรับการเปรียบเทียบข้อมูลแถวลำดับที่สร้างจาก ulab ซึ่งภาษาไพธอนไม่ได้สนับสนุนมาแต่ต้น โดยในบทความนี้อธิบายหน้าที่และการใช้งานฟังก์ชันของโมดูลย่อยตัวนี้เพื่อให้รู้จักและนำไปใช้งานต่อไป

[TH] ulab EP 5 numerical

บทความ ulab ตอนที่ 5 เป็นเรื่องของโมดูลย่อย numerical ที่ใช้ในการคำนวณหาค่าน้อยสุด มากสุด ผลรวม ค่าเฉลี่ย และค่าเบียงเบนมาตรฐาน ทำให้ทำงานด้านการคำนวณสถิติเบี้องต้นได้สะดวก โดยบทความอธิบายฟังก์ชันการทำงานของโมดูลย่อย numerical พร้อมตัวอย่างโปรแกรมเพื่อให้เห็นภาพของการทำงาน