[EN] Binary Search Tree data structure programming with Python.

In the previous article, programming to implement queue-based data structures was introduced. In this article, we introduce programming to manage another type of data structure which has different storage and management methods called BST tree or Binary Search Tree, as shown in Figure 1, which is a structure that can be applied to data collection with attributes in which the data in the left branch is less than itself and the right branch is greater than itself or the opposite, i.e. the left branch has a greater value and the right branch is less. It enables searching for data in cases where the tree is balanced on the left and right in the BST structure, saving half the time or number of search times per round of available data, e.g. 100 data sets in the first round if it is not the information you are looking for will be left with a choice to find from the left or right branches which the selection causes the information of the other side is not considered or cut off approximately half. However, if the Binary Search Tree is out of balance, the search speed is not much different from the sequential search.

In this article, we use Python that works on either a Python 3 or MicroPython interpreter to store the data, adding information ,searching for information as an example of further development.

BST : Binary Search Tree
Figure 1 BST

[TH] Queue data structure with array and Singly Linked List.

บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบคิว (Queue) ซึ่งได้เคยเขียนถึงไปในบทความ Queue Data Structure ที่เป็นภาษาไพธอนและถูกนำไปใช้บ่อยกับตัวอย่างของ MicroPython แต่บทความนี้เป็นภาษา C ที่เขียนผ่าน Arduino IDE เพื่อใช้งานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 โดยยกตัวอย่างการนำโครงสร้างแถวลำดับ และลิงค์ลิสต์เดี่ยวมาเป็นโครงสร้างข้อมูลแบบคิว และคงเป็นบทความสุดท้ายบน JarutEx แล้วครับ

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S2, LGY8P326P และ SAM-D21

[TH] Stack data structure with Singly Linked List.

บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก (Stack) เพื่อเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C บนแพล็ตฟอร์มต่าง ๆ โดยใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวเป็นที่เก็บข้อมูลของสแต็กพร้อมตัวอย่างการแถวลำดับเป็นที่เก็บข้อมูล และทดสอบการทำงานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 และ 2 ส่วนกรณีที่ต้องการไปใช้กับแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ยังคงสามารถดัดแปลงโค้ดเพื่อนำไปใช้ได้เช่นเดียวกัน

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32, LGY8P326P และ SAM-D21

[TH] Arduino: ใช้ SoftwareSerial กับ STM32F030F4

จากบทความแนะนำการใช้บอร์ด STM32F030F4P6 ที่ใช้การสื่อสารพอร์ตอนุกรมด้วยการใช้ไลบรารีเพิ่มเติมซึ่งทำให้ปริมาณหน่วยความจำไม่มากพอสำหรับใช้งาน ทางเราเลยลองเปลี่ยนมาใช้ SoftwareSerial ของเฟรมเวิร์ก Arduino และใช้ขา PA10 และ PA9 ต่อเข้ากับ RX และ TX ของโมดูลแปลง USB-RS232 ดังภาพที่ 1 และทดลองใช้งานตามการตั้งค่าของ Arduino IDE ดังภาพที่ 2 พร้อมทั้งสั่ง Toggle หลอด LED ที่เชื่อมต่อกับขา PA4 พบว่า เมื่อคอมไพล์โปรแกรมตัวอย่างแล้วมีการใช้ ใช้หน่วยความจำ ROM และ RAM เป็น 80% และ 21% ตามลำดับดังการรายงานจาก Arduino IDE ดังต่อไปนี้

Sketch uses 13188 bytes (80%) of program storage space. Maximum is 16384 bytes.
Global variables use 876 bytes (21%) of dynamic memory, leaving 3220 bytes for local variables. Maximum is 4096 bytes.
ภาพที่ 1 บอร์ด STM32F030F4P6 กับโมดูล CH340E

[TH] Generate temperature and humidity graphs with data from Singly Linked List.

จากบทความโครงสร้างข้อมูล Singly Linked List, การใช้โมดูลเซ็นเซอร์ DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103 และการใช้โมดูลแสดงผล TFT ที่ใช้ตัวควบคุม st7735s จึงเกิดเป็นแนวคิดของบทความนี้ คือ นำตัวอย่างการใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวที่เก็บค่าอุณหภูมิและความชื้นมาหาค่ามากสุด น้อยสุด ค่าเฉลี่ย พร้อมทั้งข้อมูลในลิสต์มาแสดงในรูปแบบของกราฟดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลลัพธ์ที่ได้จากบทความนี้

[TH] Singly Linked List

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมภาษา C/C++ กับบอร์ด Arduino Nano, Arduino Uno, LGT8F328P หรือบอร์ดอื่น ๆ และแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ที่ใช้ภาษา C ได้ โดยในบทความนี้กล่าวถึงวิธีการใช้โครงสร้าง struct สำหรับเก็บข้อมูลและตัวชี้ที่ใช้สำหรับชี้ไปยังตำแหน่งของหน่วยความจำ และวิธีการบริหารหน่วยความจำได้แก่ การจองหน่วยความจำ การเข้าถึงหน่วยความจำ และการยกเลิกการใช้หน่วยความจำเพื่อสร้างวิธีการจัดเก้บข้อมูลแบบลิงค์ลิวต์เดียว (Singly Linked List) พร้อมทั้งตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับเก็บรายการค่าอุณหภูมิและความชื้นจากโมดูล DHT11 ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ชิพ LGT8F328P กับโมดูล DHT11

[EN] How to used Arduino 2.4″ TFT LCD&Touch Shield with STM32F401?

From the previous article that has used a 3.5″ display for Raspberry Pi Board to use with ESP32, we also have an Arduino 2.4″ TFT LCD & Touch Shield that is used with Arduino Uno and Arduino Mega (as shown in Figure 1. ) and want to use with a microcontroller STM32F401RET6 Board NUCLEO-F401RE and STM32F401CC (Figure 2), which are Cortex-M4 with 96KB and 64KB memory respectively, ROM memory is 512KB and 128KB, with 8 switches connected to the pin. In this article, Board ET-TEST 10P/INP (Figure 3) is used to replace the left, up, down, right, m1,m2, A and B buttons respectively.

Nucleo-F401RE+Arduino Uno 2.4" TFT&Touch Shield
(Figure. 1 Arduino Uno TFT&Touch Shield module on Nucleo-F401RE)

[TH] Arduino: STM32F103CBT6 ADC&LDR.

จากที่ได้อ่านบทความการใช้ ADC ของบอร์ด STM32L432 และบทความเกี่ยวกับ STM32F103x ในการเชื่อมต่อกับ ST7735S เลยถึงคราวนำ STM32F103CBT6 หรือบอร์ด Blue-Pill/Black-Pill มาเขียนโปรแกรมใช้งาน ADC เพื่อแสดงผลบนจอ TFT กันบ้าง โดยตัวอย่างผลลัพธ์ของบทความนี้เป็นดังภาพที่ 1 อันเป็นการอ่านค่าจากขา PA0 ที่ได้เชื่อมต่อกับขาสัญญาณแอนาล็อกจากบอร์ด LDR ในภาพที่ 2 เพื่อแสดงผลบนจอแสดงผลแบบ TFT

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการทำงานของโปรแกรมในบททความ

[EN] ST7735s

This article describes setting up the Arduino’s TFT_eSPI library to use the ST7735s-controlled TFT LCD that was written as an example in a previous article in Python. We found that there are 2 0.96″ LCD IPS ST7735s models, which are GREENTAB160x80 and REDTAB160x80. Both modules differ in the spacing between them, as shown in Figure 1. This article uses the ESP8266, ESP32 DO-IT DevKit version with ESP32CAM and STM32F103C8T6. It is a board to test the functionality of the program.

(Figure. 1 0.96” IPS TFT module)

[TH] How to build MicroPython for SAM-D21.

หลังจากที่ได้แนะนำบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ SAM-D21 ดังภาพที่ 1 และการใช้ ADC/DAC ของชิพตัวนี้ที่เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์สถาปัตยกรรม ARM 32 บิต แบบ Cortex-M0+ ในครั้งนี้เรามาลองคอมไพล์และใช้ภาษาไพธอนสำหรับบอร์ดตัวนี้กัน

ภาพที่ 1 บอร์ด SAM-D21