[TH] Hosting Unity WebGL game on the sever
[TH] PIC18F458 Ep.5 GPIO and 7-Segments
บทความนี้เป็นการประยุกต์ใช้ GPIO ของ PIC18F458 เพื่อสั่งงานวงจรของแอลอีดี 8 หลอดที่จัดเรียงตำแหน่งกันเป็นเหมือนตัวเลขดังภาพที่ 1 โดยใช้หลอด LED จำนวน 8 หลอดมาจัดวางใหม่และเรียกว่า 7-Segment ที่สามารถนำไปประยุกต์แสดงผลตัวเลข และตัวอักษรได้อีกจำนวนหนึ่ง นอกจากนี้ บนตัวบอร์ดทดลองได้ติดตั้ง 7-Segment เอาไว้จำนวน 4 หลัก ทำให้สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการแสดงผลข้อมูล 4 หลัก
[TH] Office Syndrome our series : PIRIFORMIS SYNDROME
บทความนี้เป็นบทความต่อเนื่องเกี่ยวกับการดูแลร่างกายสำหรับคนที่ทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์นานๆ หรือสำหรับคนที่มีปัญหาจากการนั่งนานๆ ซึ่งพูดถึงกล้ามเนื้อ Piriformis ลักษณะอาการ สาเหตุ และวิธีบรรเทาให้อาการลดลง
[TH] PIC18F458 Ep.2 เจาะรายละเอียด
ในบทความก่อนหน้านี้ได้แนะนำบอร์ดที่ใช้ในแล็บวิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการฝึกปฎิบัติไปแล้ว ครั้งนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับคุณสมบัติและผังการทำงานภายในชิพ PIC18F458 จากเอกสารของบริษัท Microchip เพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมใช้งานความสามารถของไมโครคอนโทรลเลอร์ต่อไปในบทความถัดไป (ส่วนรายละเอียดของ PIC16F877 สามารถอ่านได้จากบทความนี้ครับ)
[TH] การสแกน QR Code และแสดงวัตถุสามมิติใน Unity3D
สำหรับสุดยอดโปรแกรมสร้างเกมอย่าง Unity3D แล้วนั้นมีจุดเด่นมากมายดังที่เคยกล่าวไป ซึ่งข้อหนึ่งนั้นคือการที่โปรแกรมสามารถสร้างเกมได้ในแทบทุกแพลตฟอร์มไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์หรือมือถือ ซึ่งในบทความนี้จะกล่าวถึงการใช้งานบนมือถือ ซึ่งแน่นอนว่าต้องมีอุปกรณ์ที่คอมพิวเตอร์ไม่มีเช่น กล้อง โดยจะกล่าวถึงวิธีการแสกน QR Code เพื่อสั่งงานตามข้อความที่ถอดมาได้ และสั่งให้แสดงเป็นวัตถุ 3 มิติ
QR Code
เกริ่นสักนิดก่อนเพื่อให้ทุกท่านเข้าใจว่า QR Code มีลักษณะคล้ายกับ Barcode คือมีการแปลงข้อความให้อยู่ในรูปแบบที่กำหนด โดยมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส มีจุดบอกทิศอยู่ 3 มุม เพื่อให้รู้ว่าด้านไหนเป็นด้านบน และใช้โปรแกรมในการแสกนเพื่อถอดข้อความซึ่งเป็นได้ทั้ง ตัวอักษร ตัวเลข อักขระต่างๆ ลิงค์ ฯ
เมื่อต้องการถอดรหัส QR code เป็นข้อความสามารถทำได้ทั้งการใช้กล้องแสกน หรือ บันทึกรูปภาพและใช้โปรแกรมถอดรหัส
[TH] Into 3d printing
จากบทความก่อนๆ ทุกท่านคงจะทราบดีว่าทางทีมงานได้ทดลองเกี่ยวกับ Microcontroller รวมถึงการสร้างเกม แต่นอกจากนั้นทางทีมงานยังได้ทดลองเกี่ยวกับการพิมพ์ 3 มิติด้วย โดยในบทความนี้จะพูดคุยเกี่ยวกับการพิมพ์ 3 มิติ โดยมีรายละเอียดพอสังเขป
[TH] Queue data structure with array and Singly Linked List.
บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบคิว (Queue) ซึ่งได้เคยเขียนถึงไปในบทความ Queue Data Structure ที่เป็นภาษาไพธอนและถูกนำไปใช้บ่อยกับตัวอย่างของ MicroPython แต่บทความนี้เป็นภาษา C ที่เขียนผ่าน Arduino IDE เพื่อใช้งานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 โดยยกตัวอย่างการนำโครงสร้างแถวลำดับ และลิงค์ลิสต์เดี่ยวมาเป็นโครงสร้างข้อมูลแบบคิว และคงเป็นบทความสุดท้ายบน JarutEx แล้วครับ
[TH] Stack data structure with Singly Linked List.
บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก (Stack) เพื่อเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C บนแพล็ตฟอร์มต่าง ๆ โดยใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวเป็นที่เก็บข้อมูลของสแต็กพร้อมตัวอย่างการแถวลำดับเป็นที่เก็บข้อมูล และทดสอบการทำงานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 และ 2 ส่วนกรณีที่ต้องการไปใช้กับแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ยังคงสามารถดัดแปลงโค้ดเพื่อนำไปใช้ได้เช่นเดียวกัน
[TH] Arduino: Using the ST7735s module with an ESP32-S2 via the TFT_eSPI library.
บทความนี้เป็นการใช้โมดูล ST7735s กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S2 ผ่านไลบรารี TFT_eSPI โดยในก่อนหน้านี้ได้กล่าวถึงการใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 และ STM32F103C ไปแล้ว และโมดูล TFT ที่เลือกใช้เป็น REDTAB80x160 (ได้เพิ่มเติมโค้ดสำหรับ GREENTAB80x160 ในตอนท้ายบทความ) แต่สามารถปรับดารตั้งค่าเป็นโมดูลอื่น ๆ ได้ โดยดูรายละเอียดจากไฟล์ User_Setup.h ของไลบรารี TFT_eSPI ดังภาพที่ 1