[TH] How to build MicroPython for SAM-D21.

หลังจากที่ได้แนะนำบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ SAM-D21 ดังภาพที่ 1 และการใช้ ADC/DAC ของชิพตัวนี้ที่เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์สถาปัตยกรรม ARM 32 บิต แบบ Cortex-M0+ ในครั้งนี้เรามาลองคอมไพล์และใช้ภาษาไพธอนสำหรับบอร์ดตัวนี้กัน

ภาพที่ 1 บอร์ด SAM-D21

[EN] Queue Data Structure

This article introduces the use of the list class in Micropython as a queue data structure with a limited number of members. It works according to the FIFO (First-In-First-Out) principle, which can be applied in a variety of applications, such as being used as a storage, and when the data is full but we need to insert new data, the old data must be pop out. The example in this article uses the dCore-miniML board (Figure 1) to read the temperature of the chip and store it in a Queue structure and display it in a bar graph and Micropython implemented firmware version 1.16 (2021-06-23) for the ESP Module (SPIRAM).

(Figure. 1 An example of drawing a graph with data stored in a queued data structure)

[TH] Arduino: ESP32-S2’s DAC&ADC.

หลังจากที่ทดสอบ DAC และ ADC ของทั้ง ESP32, SAM-D21, LGT8F328P และ STM32L432KC เป็นที่เรียบร้อย ครั้งนี้ก็เป็นคราวของ ESP32-S2 ที่ทางเรามีใช้งานอยู่ โดยการทดสอบการทำงานยังคงเป็นเหมือนก่อนหน้านี้ที่ใช้ DAC ส่งคลื่น 3 ลักษณะคือ ฟันปลา สามเหลี่ยม และคลื่นรูปไซน์ออกมา และเขื่อมต่อเข้ากับขาของ ADC เพื่อนอ่านค่า พร้อมทั้งทดสอบดูกราฟว่ามีลักษณะออกมาเป็นอย่างไร

ในการทดลองนี้ได้เชื่อมต่อ DAC1 เข้ากับ ADC ดังภาพที่ 1 โดย ESP32-S2 มี DAC ขนาด 8 บิตจำนวน 2 พอร์ตเรียกว่า DAC1 และ DAC2 ส่วน ADC มีความละเอียด 12 บิต ซึ่งจะเห็นว่ามีคุณสมบัติเหมือนกับ ESP32 แต่จะได้ผลลัพธ์เหมือนกันหรือไม่นั้นคงบอกได้ว่าน่าจะแตกต่างเนื่องจากใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์คนละรุ่นกัน โดยใน ESP32-S2 ใช้ตัวเดียวกับ ESP32-S3 ที่มีเพียงแกนเดียว และไม่มี BLE

ภาพที่ 1 บอร์ด Neucleo L432KC เชื่อมต่อขา A3 เข้ากับ D3

[TH] Try the SoftHost USB library for ESP32.

บทความนี้เป็นตัวอย่างการนำ ESP32 Soft Host ของ nathalis มาทดลองใช้งานและทดลองแสดงผลที่จอแสดงผล OLED ที่มีความละเอียด 128×64 จุด ดังภาพที่ 1 เพื่อรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ หรือเมาส์ ทำให้ใช้ GPIO เพียงไม่กี่ขาแต่สามารถรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ที่มีจำนวนปุ่มที่เยอะได้ ซึ่งโดยปกติแล้วตัวไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ไม่รองรับการทำเชื่อมต่อกับ USB โดยตรงจึงต้องอาศัยการเขียนโปรแกรมด้วยการใช้ตัวตั้งเวลาหรือ Timer มาตรวจสอบสถานะของสายสัญญาณขา D- และ D+ เพื่อนำมาประกอบกันเป็นข้อมูลในระดับไบต์และนำมาประกอบกันเป็นแพ็คของข้อมูลเพื่อทำการตีความต่อไป

ภาพที่ 1 อุปกรณ์และบอร์ดที่เชื่อมต่อกันเพื่อเป็นตัวอย่างในบทความนี้

[EN] Python multi-threaded programming

This article discusses Python multi-threaded programming. Compiled from the website tutorialspoint.com (Make this article a memo). Running multiple threads is like running several different programs at the same time, but it’s useful:

  • Each thread can share the memory with the main thread and can communicate with each other.
  • Threads are smaller processes because they consume less memory than process calls.

[EN] PyGlet

pyglet is a Python library to create windows and cross-platform multimedia on Windows (Windows), MacOS (macOS) and Linux (Linux) for developing games or visualization applications. The library itself supports creating windows, integration with users through an event-based system, support OpenGL graphics, image/video loading support, and playing music. This article discusses installing and using pyglet on Raspberry Pi 3 B+ and Raspberry Pi 4 as a test device.

(Figure. 1 Example from 1-6)

[TH] Arduino: STM32L432 Nucleo-32’s DAC&ADC.

จากที่ได้อ่านบทความ การใช้งาน STM32 Core Support for Arduino สำหรับบอร์ด Nucleo L432KC ของอาจารย์ เรวัต ศิริโภคาภิรมย์ ทางเราเลยได้จัดหาบอร์ดมาทดลองใช้งานและเชื่อมต่อขาสำหรับส่งข้อมูลออก DAC ไปยัง ADC ตามภาพที่ 1 เพื่อทดสอบการทำงานของภาค DAC และ ADC ของบอร์ดโดยใช้โค้ดการทำงานเหมือนกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32, SAM-D21 และ LGT8F328P ว่าเป็นอย่างไร มาติดตามกันครับ

ภาพที่ 1 บอร์ด Neucleo L432KC เชื่อมต่อขา A3 เข้ากับ D3

[TH] Blender : Low Poly Man

บทความนี้เป็นบันทึกขั้นตอนการขึ้นรูปคนแบบโพลีกอนน้อยด้วยโปรแกรม Blender ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์แบบแจกจ่ายฟรี และเปิดเผยโค้ด ปัจจุบันเป็นรุ่น 2.93.6 LTS โดยเริ่มต้นจากกล่องแล้วตัดฝั่งซ้ายออกไป หลังจากนั้นใช้ Modifier แบบ Mirror เพื่อให้ฝั่งซ้ายและขวาเหมือนกัน ทำให้ปรับแก้เฉกาะฝั่งขวาทำให้งฝั่งซ้ายมีผลตามไปด้วย หลังจากนั้นจัดรูปทรงให้เป็นตามภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ขึ้นรูปจากบริเวณลำตัว

[TH] Arduino: The LGT8F328P’s ADC/DAC.

บทความนี้เป็นบทความที่ต่อเนื่องจากบทความแนะนำบอร์ด LGT8F328P และการใช้ ADC และ DAC ในก่อนหน้านี้ โดยเน้นที่การใช้งานสำหรับชิพ LGT8F328P เป็นหลัก โดยการใช้งานนั้นจะแตกต่างจาก SAM-D21 ตรงที่ ใช้ขา D4 เป็นขาที่ทำหน้าที่ DAC0 และวงจร DAC มีความละเอียดในการทำงานระดับ 8 บิต หรือส่งออกค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 ส่วนภาค ADC นั้นใช้ขา A0, A1, … ได้ตามปกติ และมีความละเอียดในการทำงาน 12 บิต ดังนั้น ในบทความนี้จึงใช้การเชื่อมต่อขาจาก A0 เข้ากับ D4 ในการทดลองดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ด LGT8F328P เชื่อมต่อขา A0 เข้ากับ D4