[TH] The dCore-espWST

บทความนี้แนะนำการใช้ esp8266 เพื่ออ่านอุณหภูมิความชื้นจากเซ็นเซอร์ DHT11 ค่าแรงดันจากเซ็นเซอร์ LDR รับค่าจากสวิตช์ และแสดงผลผ่านทาง OLED ด้วยภาษาไพธอนของ MicroPython โดยคุณสมบัตินี้เป็นบอร์ด dCore-espWST ที่พวกเราใช้งาน (ซึ่งบทความก่อนหน้านี้เราก็ใช้ตัว dCore-esp32WST ที่มีการออกแบบเหมือนกันแต่ใช้ esp32 แต่โค้ดโปรแกรมยังคงใช้กับบอร์ดรุ่นได้ด้วยเช่นกัน) และเป็นบอร์ดสำหรับใช้ในการเรียนการสอนวิชา IoT โดยโครงสร้างต้นแบบของบอร์ดเป็นดังภาพที่ 1 ซึ่งปกติจะใช้กับชุดจ่ายไฟจากระบบแบตเตอรีพร้อมวงจรชาร์จจากแผงโซลาเซลล์

ภาพที่ 1 ต้นแบบของบอร์ด dCore-espWST

[TH] The MicroPython Internal File System.

บทความนี้เป็นการใช้งานระบบไฟล์ของ MicroPython โดยใช้บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์  esp8266 และ esp32 เป็นบอร์ดทดลอง ซึ่งการใช้งานระบบไฟล์เกี่ยวข้องกับไดเร็กทอรีและไฟล์ รวมถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์ให้ถูกมองเป็นระบบไฟล์ของ MicroPython เช่น การเชื่อมต่อกับ  SD-Card เพื่อมองเป็นไดเร็กทอรีของระบบ เป็นต้น เป็นการใช้งานคลาส os ส่วนการสร้างไฟล์ เปิด เข้าถึงเพื่ออ่าน เข้าถึงเพื่อเขียนข้อมูล และการปิดการใช้งานไฟล์จะเป็นส่วนของคลาส file ของ MicroPython

[EN] VisionRobo Car: Drive Motor

This article is programming in Python to drive a robot moving with wheels. VisionRobo car is a robot kit that is equipped with a DC motor that is attached to a wheels gear set. It uses a circuit to drive a DC motor connected to Raspberry Pi Board and connect a USB WebCamera Module and Ultrasonic Sensor Module for image processing and calculate the distance of the robot to the surrounding objects.

(Figure. 1 VisionRobo car)

[TH] การเขียนโปรแกรมไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์สำหรับสถานีอากาศผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย

บทความนี้เป็นตัวอย่างการเขียนโปรแกรมไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์สำหรับสถานีอากาศผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย (Client/Server Programming for Weather Stations via Wireless Networking) โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ esp32 จำนวน 2 ตัวสื่อสารกันผ่านเครือข่ายไร้สาย โดยกำหนดให้ตัวที่ติดตั้งเซ็นเซอร์ DHT22 และ LDR เป็นเครื่องให้บริการ (Server) ทำงานในโหมด AP และบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ esp32 อีกบอร์ดหนึ่งทำงานเป็นลูกข่าย และสื่อผ่านทางพอร์ตที่กำหนดขึ้นมาเอง เพื่ออ่านค่าอุณหภูมิ ความชื้นและค่าดิจิทัลที่ได้จากเซ็นเซอร์ LDR ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ดและอุปกรณ์สำหรับการทดลองครั้งนี้

[TH] ESP8266/ESP32 WiFi

บอร์ด ESP8266 และ ESP32 เป็นอุปกรณ์ที่มีระบบการเชื่อมต่อสัญญาณ WiFi ในตัว โดยสามารถทำงานได้ทั้งโหมดการให้ตนเองเป็น AP (Access Point) และโหมดลูกข่ายที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย WiFi ที่มีอยู่แล้วหรือ STA โดยผู้พัฒนาสามารถตั้งชื่อของอุปกรณ์ (ESSID) หรือใช้ชื่อตามค่าที่ตั้งจากระบบเป็น MicroPython-xxxx ซึ่ง x แทนค่า MAC Address ของอุปกรณ์ โดยรหัสผ่านเป็น micropythoN (ผู้พัฒนาสามารถกำหนดใหม่ได้) พร้อมรหัสหมายเลขไอพี (IP Address) เป็น 192.168.4.1

ภาพที่ 1 บอร์ดทดลอง ESP8266+Uno ของทีม JarutEx

[EN] QRCode Detected!

This article describes how to use OpenCV to find QRCode from an image from a Web Camera connected to the Raspberry Pi via a USB port. The example contains an example of reading the results from a web camera. And exit the program by pressing the ESC key, the QRCode search example and decoding the text within the image and storing the result in the image file.

(Figure. 1)

[TH] ใช้งาน DAC12 บิตกับ MicroPython

บทความนี้กล่าวถึงหลักการทำงานของโมดูลแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนาล็อกแบบ 12 บิตจำนวน 2 ช่องสัญญาณที่ทำงานด้วยไอซี MCP4922 ด้วย MicroPython ของบอร์ด ml4m ผ่านทางบัส SPI เพื่อนำอออกสัญญาณแอนาล็อกเป็นรูปคลื่นสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมดังภาพที่ 6 และ 7 ของตัวอย่างในบทความนี้

ภาพที่ 1 บอร์ด et-mini MCP4922

[TH] เกม 15-Puzzle

บทความนี้เป็นตัวอย่างเกม 15-Puzzle โดยใช้บอร์ด ml4m ที่มีผลลัพธ์ของหน้าจอดังภาพที่ 1 ซึ่งเป็นเกมที่ทำให้ผู้เล่นได้ฝึกทักษะการคิดแบบมีกลยุทธ์มีการมองเกมล่วงหน้าเพื่อวางแผนการเลื่อนตัวเลข นอกจากนี้เกม 15-puzzle นอกจากอยู่ในรูปแบบของตัวเลขแล้วยังสามารถเปลี่ยนแปลงจากตัวเลขให้เป็นภาพ คือ เปลี่ยนเป็นภาพ 1 ภาพและแบ่งออกเป็น 16 ส่วน แล้วให้ผู้เล่นทำการเลื่อนภาพเพื่อต่อให้เหมือนกับต้นฉบับ นอกจากนี้ในตัวอย่างมีการใช้บัซเซอร์ในการสร้างเสียงบี๊บโดยใช้ DAC ขนาด 8 บิตของไมโครคอนโทรลเลอร์ esp32 พร้อมทั้งการเขียนโปรแกรมเลือกใช้ภาษาไพธอนบน MicroPython เช่นเคย

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการสุ่มค่าในตาราง 4×4