[TH] Stack data structure with Singly Linked List.

บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก (Stack) เพื่อเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C บนแพล็ตฟอร์มต่าง ๆ โดยใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวเป็นที่เก็บข้อมูลของสแต็กพร้อมตัวอย่างการแถวลำดับเป็นที่เก็บข้อมูล และทดสอบการทำงานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 และ 2 ส่วนกรณีที่ต้องการไปใช้กับแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ยังคงสามารถดัดแปลงโค้ดเพื่อนำไปใช้ได้เช่นเดียวกัน

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32, LGY8P326P และ SAM-D21

[TH] Arduino: Using the ST7735s module with an ESP32-S2 via the TFT_eSPI library.

บทความนี้เป็นการใช้โมดูล ST7735s กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S2 ผ่านไลบรารี TFT_eSPI โดยในก่อนหน้านี้ได้กล่าวถึงการใช้งานกับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 และ STM32F103C ไปแล้ว และโมดูล TFT ที่เลือกใช้เป็น REDTAB80x160 (ได้เพิ่มเติมโค้ดสำหรับ GREENTAB80x160 ในตอนท้ายบทความ) แต่สามารถปรับดารตั้งค่าเป็นโมดูลอื่น ๆ ได้ โดยดูรายละเอียดจากไฟล์ User_Setup.h ของไลบรารี TFT_eSPI ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 โมดูลแสดงผล TFT ขนาด 0.96″ แบบ IPS กับ ESP32-S2

[TH] Arduino: ใช้ SoftwareSerial กับ STM32F030F4

จากบทความแนะนำการใช้บอร์ด STM32F030F4P6 ที่ใช้การสื่อสารพอร์ตอนุกรมด้วยการใช้ไลบรารีเพิ่มเติมซึ่งทำให้ปริมาณหน่วยความจำไม่มากพอสำหรับใช้งาน ทางเราเลยลองเปลี่ยนมาใช้ SoftwareSerial ของเฟรมเวิร์ก Arduino และใช้ขา PA10 และ PA9 ต่อเข้ากับ RX และ TX ของโมดูลแปลง USB-RS232 ดังภาพที่ 1 และทดลองใช้งานตามการตั้งค่าของ Arduino IDE ดังภาพที่ 2 พร้อมทั้งสั่ง Toggle หลอด LED ที่เชื่อมต่อกับขา PA4 พบว่า เมื่อคอมไพล์โปรแกรมตัวอย่างแล้วมีการใช้ ใช้หน่วยความจำ ROM และ RAM เป็น 80% และ 21% ตามลำดับดังการรายงานจาก Arduino IDE ดังต่อไปนี้

Sketch uses 13188 bytes (80%) of program storage space. Maximum is 16384 bytes.
Global variables use 876 bytes (21%) of dynamic memory, leaving 3220 bytes for local variables. Maximum is 4096 bytes.
ภาพที่ 1 บอร์ด STM32F030F4P6 กับโมดูล CH340E

[TH] Generate temperature and humidity graphs with data from Singly Linked List.

จากบทความโครงสร้างข้อมูล Singly Linked List, การใช้โมดูลเซ็นเซอร์ DHT11 กับไมโครคอนโทรลเลอร์ STM32F103 และการใช้โมดูลแสดงผล TFT ที่ใช้ตัวควบคุม st7735s จึงเกิดเป็นแนวคิดของบทความนี้ คือ นำตัวอย่างการใช้โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์เดี่ยวที่เก็บค่าอุณหภูมิและความชื้นมาหาค่ามากสุด น้อยสุด ค่าเฉลี่ย พร้อมทั้งข้อมูลในลิสต์มาแสดงในรูปแบบของกราฟดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลลัพธ์ที่ได้จากบทความนี้

[TH] Singly Linked List

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมภาษา C/C++ กับบอร์ด Arduino Nano, Arduino Uno, LGT8F328P หรือบอร์ดอื่น ๆ และแพล็ตฟอร์มอื่น ๆ ที่ใช้ภาษา C ได้ โดยในบทความนี้กล่าวถึงวิธีการใช้โครงสร้าง struct สำหรับเก็บข้อมูลและตัวชี้ที่ใช้สำหรับชี้ไปยังตำแหน่งของหน่วยความจำ และวิธีการบริหารหน่วยความจำได้แก่ การจองหน่วยความจำ การเข้าถึงหน่วยความจำ และการยกเลิกการใช้หน่วยความจำเพื่อสร้างวิธีการจัดเก้บข้อมูลแบบลิงค์ลิวต์เดียว (Singly Linked List) พร้อมทั้งตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับเก็บรายการค่าอุณหภูมิและความชื้นจากโมดูล DHT11 ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ใช้ชิพ LGT8F328P กับโมดูล DHT11

[EN] Understand and use the ESP32-C3

We have been using the esp8266, especially the esp-01 and esp-01s modules, to manage the sensor network for quite some time and with the limitation in terms of the number of pins used, the system must be designed to work with STM32F103C8T6 or STM32F401CCU6/STM32F411CEU6. To ensure stable operation, no problems with the esp8266’s WDT were encountered, and over time, espressif released several other microcontrollers such as esp32, esp32-s2, esp32-c3 and esp32-s3.

We have tested and used esp32 almost all the time until esp32-s2 with LILYGO board made us try to order it. The main problem is that the development tools are very late. However, as of now, espressif has released a development kit for Arduino or Arduino Core for ESP32 version 2.0 with support for esp32 esp32-s2 and esp32c3, making it work with ESP32 and ESP32-S2. We got the esp-c3-32s board so this article was born.

This article is compiled from the datasheet of ESP32-C3 WROOM-02, in this article we use the board as shown in Figure 1. The example program is to drive an RGB LED on the board to work by using Arduino Core for ESP32 and the improved ESP-IDF from the article in Ep. 3

(Figure. 1 ESP32-C3)

[EN] ST7735s

This article describes setting up the Arduino’s TFT_eSPI library to use the ST7735s-controlled TFT LCD that was written as an example in a previous article in Python. We found that there are 2 0.96″ LCD IPS ST7735s models, which are GREENTAB160x80 and REDTAB160x80. Both modules differ in the spacing between them, as shown in Figure 1. This article uses the ESP8266, ESP32 DO-IT DevKit version with ESP32CAM and STM32F103C8T6. It is a board to test the functionality of the program.

(Figure. 1 0.96” IPS TFT module)

[EN] ESP8266/ESP32 WiFi

The ESP8266 and ESP32 boards are equipped with built-in WiFi connectivity. They can work in both self-application mode (Access Point) and client mode connected to an existing WiFi network or STA. Developers can set the device name (ESSID) or use the default name from the system as MicroPython-xxxx, where x represents the MAC Address of the device, the password is micropythoN (developers can assign new) and the IP Address (IP Address) is 192.168.4.1.

(Figure. Our ESP8266+Uno)

[EN] Display time from NTP and TimeLib with esp8266

This article is an example of using the Arduino framework’s NTP and TimeLib libraries with either the ESP-01s (Figure 1) or esp8266 to report the current time via the web served by the esp8266, which in this example is called NTPClient and TimeLib libraries. An Internet connection is required to read the date and time from an NTP provider such as time.nist.gov.

(Figure. 1 ESP-01s on dCore-0 v.0.7)

[TH] Arduino: ESP32 PWM.

บทความนี้กล่าวถึงการใช้ PWM (Pulse Width Modulate) ของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ในเฟรมเวิร์ก Arduino หลังจากที่ได้กล่าวถึงการทำงานของส่วนนี้ใน ESP-IDF และ MicroPython ไปแล้ว โดยบทความกล่าวถึงฟังก์ชัน การใช้งาน และตัวอย่างโปรแกรม ด้วยการเชื่อมต่อบอร์ดกับลำโพงดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ด esp32G2 ที่ติดตั้งลำโพงแบบบัซเซอร์ไว้ที่ GPIO19