[TH] Arduino: STM32L432 Nucleo-32’s DAC&ADC.

จากที่ได้อ่านบทความ การใช้งาน STM32 Core Support for Arduino สำหรับบอร์ด Nucleo L432KC ของอาจารย์ เรวัต ศิริโภคาภิรมย์ ทางเราเลยได้จัดหาบอร์ดมาทดลองใช้งานและเชื่อมต่อขาสำหรับส่งข้อมูลออก DAC ไปยัง ADC ตามภาพที่ 1 เพื่อทดสอบการทำงานของภาค DAC และ ADC ของบอร์ดโดยใช้โค้ดการทำงานเหมือนกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32, SAM-D21 และ LGT8F328P ว่าเป็นอย่างไร มาติดตามกันครับ

ภาพที่ 1 บอร์ด Neucleo L432KC เชื่อมต่อขา A3 เข้ากับ D3

[TH] Arduino: The LGT8F328P’s ADC/DAC.

บทความนี้เป็นบทความที่ต่อเนื่องจากบทความแนะนำบอร์ด LGT8F328P และการใช้ ADC และ DAC ในก่อนหน้านี้ โดยเน้นที่การใช้งานสำหรับชิพ LGT8F328P เป็นหลัก โดยการใช้งานนั้นจะแตกต่างจาก SAM-D21 ตรงที่ ใช้ขา D4 เป็นขาที่ทำหน้าที่ DAC0 และวงจร DAC มีความละเอียดในการทำงานระดับ 8 บิต หรือส่งออกค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 255 ส่วนภาค ADC นั้นใช้ขา A0, A1, … ได้ตามปกติ และมีความละเอียดในการทำงาน 12 บิต ดังนั้น ในบทความนี้จึงใช้การเชื่อมต่อขาจาก A0 เข้ากับ D4 ในการทดลองดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 บอร์ด LGT8F328P เชื่อมต่อขา A0 เข้ากับ D4

[TH] Arduino ADC/DAC

บทความนี้แนะนำบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 และ SAM-D21 มาใช้งานเพื่อเรียนรู้การใช้คำสั่งเกี่ยวกับ ADC (Analog to Digital Converter) และ DAC (Digital to Analog Converter) ด้วยการเชื่อมต่อขา DAC เข้ากับ ADC ดังตัวอย่างภาพที่ 1 (เชื่อม A0 เข้า A1 ของบอร์ด SAM-D21) และ 2 (เชื่อมต่อขา GPIO26 เข้ากับ GPIO36 ของ ESP32) เพื่อส่งข้อมูลที่ไป DAC และให้ ADC อ่านค่ากลับเข้ามา และส่งผลลัพธ์ออกไปที่พอร์ตอนุกรมสำหรับแสดงผลด้วย Serial Plotter ซึ่งตัวอย่างโปรแกรมสั่งส่งข้อมูล 3 แบบ คือ กราฟแบบฟันปลา กราฟแบบสามเหลี่ยม และกราฟรูปคลื่นจากฟังก์ชันไซน์

ภาพที่ 1 บอร์ด SAM-D21 เชื่อมต่อขา A0 เข้ากับ A1
ภาพที่ 2 บอร์ด ESP32 ที่เชื่อมต่อขา 26 เข้ากับ 36

[EN] Using ESP32’s ADC and DAC with Micropython.

This article describes the implementation of the ESP32 microcontroller’s ADC (Analog-to-Digital Converter) and DAC (Digital-to-Analog Convertor) with MicroPython’s Python subclasses ADC and DAC, which fall under the machine class to learn both subclasses along with an example program to use the class as shown in Figure 1 as a basis for further development.

(Figure. 1 ADC/DAC’s example of use)

[TH] ESP-IDF Ep.8 : DAC Output Part 2

บทความนี้กล่าวถึงการใช้งาน GPIO ของ ESP32 เพื่อทำหน้าที่นำออกสัญญาณแอนาล็อกผ่านทางโมดูล DAC ขนาด 8 บิตของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ต่อจากคราวที่แล้ว โดยในบทความนี้เป็นการใช้การสร้างคลื่นแบบ Cosine เพื่อนำออกสัญญาณแอนาล็อกของไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านลำโพง และแสดงให้เห็นรูปของคลื่นที่ได้จากจอแสดงผลของออสซิโลสโคป ส่วนบอร์ดทดลองยังคงใช้ตามภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การต่อใช้งานประกอบตัวอย่างการใช้งาน DAC

[TH] ESP-IDF Ep.7 : DAC Output

บทความนี้กล่าวถึงการใช้งาน GPIO ของ ESP32 เพื่อทำหน้าที่นำออกสัญญาณแอนาล็อกผ่านทางโมดูล DAC ขนาด 8 บิตของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 โดยทดลองสร้างเป็นกราฟฟันปลา (ดังภาพที่ 7) เพื่อส่งแรงดันดังกล่าวไปยังโมดูลลำโพงดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 การต่อใช้งานประกอบตัวอย่างการใช้งาน DAC

[TH] ใช้งาน DAC12 บิตกับ MicroPython

บทความนี้กล่าวถึงหลักการทำงานของโมดูลแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนาล็อกแบบ 12 บิตจำนวน 2 ช่องสัญญาณที่ทำงานด้วยไอซี MCP4922 ด้วย MicroPython ของบอร์ด ml4m ผ่านทางบัส SPI เพื่อนำอออกสัญญาณแอนาล็อกเป็นรูปคลื่นสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมดังภาพที่ 6 และ 7 ของตัวอย่างในบทความนี้

ภาพที่ 1 บอร์ด et-mini MCP4922

[TH] Using ESP32’s ADC and DAC with Micropython.

บทความนี้เป็นการใช้งาน ADC (Analog-to-Digital Converter) และ DAC (Digital-to-Analog Converter) ของไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ด้วยภาษาไพธอนของ MicroPython ซึ่งเป็นคลาสย่อยชื่อ ADC และ DAC ซึ่งอยู่ภายใต้คลาส machine เพื่อเรียนรู้คลาสย่อยทั้งสอง พร้อมทั้งตัวอย่างโปรแกรมการใช้งานคลาสดังภาพที่ 1 เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับการนำไปพัฒนาต่อไป

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการใช้ ADC/DAC