[EN] Queue Data Structure

This article introduces the use of the list class in Micropython as a queue data structure with a limited number of members. It works according to the FIFO (First-In-First-Out) principle, which can be applied in a variety of applications, such as being used as a storage, and when the data is full but we need to insert new data, the old data must be pop out. The example in this article uses the dCore-miniML board (Figure 1) to read the temperature of the chip and store it in a Queue structure and display it in a bar graph and Micropython implemented firmware version 1.16 (2021-06-23) for the ESP Module (SPIRAM).

(Figure. 1 An example of drawing a graph with data stored in a queued data structure)

[TH] Arduino: ESP32-S2’s DAC&ADC.

หลังจากที่ทดสอบ DAC และ ADC ของทั้ง ESP32, SAM-D21, LGT8F328P และ STM32L432KC เป็นที่เรียบร้อย ครั้งนี้ก็เป็นคราวของ ESP32-S2 ที่ทางเรามีใช้งานอยู่ โดยการทดสอบการทำงานยังคงเป็นเหมือนก่อนหน้านี้ที่ใช้ DAC ส่งคลื่น 3 ลักษณะคือ ฟันปลา สามเหลี่ยม และคลื่นรูปไซน์ออกมา และเขื่อมต่อเข้ากับขาของ ADC เพื่อนอ่านค่า พร้อมทั้งทดสอบดูกราฟว่ามีลักษณะออกมาเป็นอย่างไร

ในการทดลองนี้ได้เชื่อมต่อ DAC1 เข้ากับ ADC ดังภาพที่ 1 โดย ESP32-S2 มี DAC ขนาด 8 บิตจำนวน 2 พอร์ตเรียกว่า DAC1 และ DAC2 ส่วน ADC มีความละเอียด 12 บิต ซึ่งจะเห็นว่ามีคุณสมบัติเหมือนกับ ESP32 แต่จะได้ผลลัพธ์เหมือนกันหรือไม่นั้นคงบอกได้ว่าน่าจะแตกต่างเนื่องจากใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์คนละรุ่นกัน โดยใน ESP32-S2 ใช้ตัวเดียวกับ ESP32-S3 ที่มีเพียงแกนเดียว และไม่มี BLE

ภาพที่ 1 บอร์ด Neucleo L432KC เชื่อมต่อขา A3 เข้ากับ D3

[TH] Binary Search Tree data structure programming with Python.

ในบทความก่อนหน้านี้ได้แนะนำการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้โครงสร้างข้อมูลแบบคิวไปแล้ว ในบทความนี้จึงแนะนำการเขียนโปรแกรมจัดการโครงสร้างข้อมูล (Data Structure) อีกประเภทหนึ่งซึ่งมีวิธีการจัดเก็บและจัดการที่แตกต่างกันไปอันมีชื่อว่าต้นไม้แบบ BST หรือ Binary Search Tree ดังในภาพที่ 1 ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สามารถนำไปประยุกต์เกี่ยวกับการเก็บข้อมูลที่มีคุณลักษณะที่ข้อมูลทางกิ่งด้านซ้ายมีค่าที่น้อยกว่าตัวเอง และกิ่งด้านขวามีค่ามากกว่าต้นเอง หรือทำตรงกันข้ามคือกิ่งซ้ายมีค่ามากกว่า และกิ่งด้านขวามีค่าน้อยกว่า ทำให้การค้นหาข้อมูลในกรณีที่ต้นไม้มีความสมดุลย์ทั้งทางซ้ายและทางขวาบนโครงสร้าง BST ประหยัดเวลาหรือจำนวนครั้งในการค้นหาลงรอบละครึ่งหนึ่งของข้อมูลที่มี เช่น มีข้อมูล 100 ชุด ในรอบแรกถ้าตัวเองยังไม่ใช่ข้อมูลที่กำลังค้นหา จะเหลือทางเลือกให้หาจากกิ่งทางซ้ายหรือขวา ซึ่งการเลือกทำให้ข้อมูลของอีกฝั่งนั้นไม่ถูกพิจารณา หรือตัดทิ้งไปครึ่งหนึ่งโดยประมาณ แต่ถ้าเป็นกรณีที่ Binary Search Tree นั้นขาดความสมดุลย์จะส่งผลให้การค้นหามีความเร็วไม่แตกต่างกับการค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search) เท่าใดนัก

ในบทความนี้ใช้ภาษาไพธอนที่ทำงานได้ทั้งบนตัวแปลภาษา Python 3 หรือ MicroPython เพื่อจัดเก็บข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การค้นหาข้อมูล เพื่อเป็นตัวอย่างของการนำไปพัฒนาต่อไป

BST : Binary Search Tree
ภาพที่ 1 ตัวอย่าง BST

[TH] How to build MicroPython for esp32-s2.

บทความนี้กล่าวถึงการคอมไพล์ (build) และใช้งาน MicroPython สำหรับไมโครคอนโทรลเลอร์ esp32-s2 ที่เป็นบอร์ด TTGO ESP32-S2 V1.1 หรือ TTGO ESP32-S2-WOOR V1.1 ซึ่งมีพอร์ต USB แบบ Type-C ที่รองรับการทำงานผ่าน CH340C และแบบ OTG ด้วยการใช้ดิปสวิตช์ดังภาพที่ 1 ทำให้สามารถใช้ MicroPython ได้ เนื่องจากการโปรแกรมชิพใช้การโปรแกรมผ่านทางวงจรของ CH340 และการใช้งานภาษาไพธอนจะต้องอาศัยพอร์ตที่ทำงานแบบ OTG

TTGO ESP32-S2 V1.1
ภาพที่ 1 TTGO ESP32-S2 V1.1

[EN] ESP-IDF Ep.1: ESP-IDF on Raspberry Pi

This article is a step-by-step guide to installing ESP-IDF on a Raspberry Pi 3 or 4 board with the Raspbian operating system (Or can be applied to other operating systems with AMD/Intel processors) to be used as a C++ interpreter for developing programs for the ESP32 board, which is called bare metal or used to compile MicroPython, in particular mpy-cross, a translator from Python (.py) to bytecode (.mpy), which protects source code, allowing faster execution of instructions. (because it has been translated before) and the file size is smaller.

(Figure. 1 Terminal)

[TH] ESP-NOW

บทความกล่าวถึงการใช้การสื่อสารที่ทาง espressif พัฒนาเพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ของตนเองผ่านทางการสื่อสารไร้สายซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาระบบแบบ Client/Server โดยอธิบายขั้นตอนการทำงานของการทำงานเป็นผู้ให้บริการ ผู้สั่งการ และชุดคำสั่งที่เกี่ยวข้องผ่านทาง Arduino core พร้อมอธิบายตัวอย่างการทำงานที่มากับ Arduino core ทั้ง 2 ตัวอย่าง คือ basic และ Multi-slave ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย

[TH] Queue Data Structure

บทความนี้แนะนำการใช้คลาส list ใน Micropython มาประยุกต์เป็นโครงสร้างข้อมูลคิวที่มีจำนวนสมาชิกจำกัด และทำงานตามหลักการ FIFO (First-In-First-Out) ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย เช่น ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลและเมื่อข้อมูลมีเต็มแล้วแต่ต้องการนำข้อมูลใหม่ใส่เข้าไป ดังนั้น จึงต้องนำข้อมูลเก่าอันดับที่ 1 ที่ใส่เข้ามาออกไป ซึ่งตรงกับหลักการของ FIFO เป็นต้น โดยตัวอย่างในบทความนี้ใช้บอร์ด dCore-miniML (ในภาพที่ 1) อ่านข้อมูลอุณหภูมิของชิพมาเก็บไว้ในโครงสร้างแบบคิวและแสดงผลออกมาในลักษณะของกราฟแท่ง และไมโครไพธอนที่นำมาใช้เป็นเฟิร์มแวร์รุ่น 1.16 (2021-06-23) สำหรับ ESP Module (SPIRAM)

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการวาดกราฟด้วยข้อมูลที่เก็บในโครงสร้างข้อมูลแบบคิว

[TH] ESP-IDF Ep.1: ESP-IDF on Raspberry Pi

บทความนี้เป็นขั้นตอนการติดตั้ง ESP-IDF บนบอร์ด Raspberry Pi 3 หรือ 4 ที่ติดตั้ง Raspbian เป็นระบบปฏิบัติการ (หรือประยุกต์เข้ากับการติดตั้งบนระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ของเครื่องที่ใช้หน่วยประมวลผลของ AMD/Intel ได้) เพื่อใช้เป็นตัวแปลภาษา C++ สำหรับพัฒนาโปรแกรมสำหรับบอร์ด ESP32 ซึ่งเรียกกว่า bare metal หรือใช้ในการคอมไพล์ MicroPython โดยเฉพาะตัว mpy-cross ซึ่งเป็นตัวแปลภาษาไพธอน (.py) ให้เป็นไบต์โค้ด (.mpy) ซึ่งทำให้สามารถปกป้องรหัสที่เขียน (Source code) ช่วยให้การประมวลผลคำสั่งไวขึ้น (เนื่องจากถูกแปลมาก่อนแล้ว) และขนาดของไฟล์มีขนาดเล็กลง

ภาพที่ 1 หน้าจอเมื่อเข้าใช้ Terminal