[EN] ESP8266 and 3-Axis Digital Accelerometer

This article introduces the use of motion sensors or digital 3-axis shifting using MMA7660FC IC, which lets us know if this module shifts left/right or forward/backward or up/down, or rotates left/right or front/back and up/down. A library has been created to enable the sensor, set the sampling rate (sample rate), and display the converted value obtained from the module.

(Figure. 1)

[EN] ESP8266 and I2C LCD 16×2

This article writes a library to operate character LCD modules using I2C bus operation, which uses a PCF8574 module designed to connect to the LCD. This makes it possible to use 2 command pins from ESP8266 to command the LCD module’s 8 pins, namely RS, R/W, EN, A, D0, D1, D2 and D3 simultaneously enable/disable the module backlight of LCD and the LCD module character sharpness can be adjusted from the variable resistor located on the PCF8574 module.

(Figure. 1)

[EN] ESP8266+RoboServo

This article is an example of programming in Python to operate a DC electric motor called a servo motor, and when a servo motor is used to drive the wheels on the left and right, it can easily work as a wheeled robot. Also, an example program of this article is to commands the movement of a wheel-driven robot to move forward, backward, turn left, turn right and stop.

(Figure. 1)

[EN] ESP8266+ST7735s TFT LCD 0.96″ 80×160 RGB

From the article ST7735S 0.96 ″ 80 × 160 TFT LCD, the features and functions of the pins are discussed with an example of how to connect to the TTGO T8 ESP32. In this article, an example of how to implement a display module with the ESP8266, which has lower memory than ESP32, thus we had to solve the problem by compiling the library to bytes with mpy extension code.

(Figure. 1)

[TH] ulab EP3 vector

ในบทความเกี่ยวกับ ulab ในตอนที่ 3 นี้ เป็นเรื่องของโมดูลย่อย vector ของ ulab ที่ใช้สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์เช่นเดียวกับไลบรารี math ของ MicroPython โดยในเนื้อหาได้แสดงรายการฟังก์ชันที่ ulab บน ESP32 และ ESP8266 รองรับ พร้อมคำอธิบายหน้าที่ของฟังก์ชันนั้น ๆ

[TH] Using the DHT22/DHT11 Temperature and Humidity Sensor Module with ESP8266

บทความครั้งนี้เป็นการใช้งานโมดูลวัดค่าอุณหภูมิและความชื้น DHT22 และ DHT11 ด้วยภาษาไพธอน ซึ่งเป็นโมดูลเซ็นเซอร์ที่ทำงานด้วยการใช้สายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ทำให้ประหยัดพอร์ตของไมโครคอนโทรลเลอร์ในการเชื่อมต่อกับโมดูลเซ็นเซอร์ นอกจากนี้ MicroPython มีไลบรารีเตรียมไว้สำหรับการใช้งาน DHT22 และ DHT11 จึงสะดวกและประหยัดเวลา ลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดจากการเขียนโปรแกรมด้วยตนเอง

ตัวอย่างในบทความนี้มี 3 ตัวอย่าง code17-1 เป็นการอ่านค่ามาแสดงผลแบปกติ แต่ code17-2 เป็นการวนรอบเพื่ออ่านซ้ำ โดยนำค่าที่อ่านมาหาค่าน้อยสุดและต่ำสุด พร้อมทั้งแสดงออกทางโมดูลแอลซีดีดังภาพที่ 8 และตัวอย่าง code17-3 เป็นการแสดงค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิและความชื้น

ภาพที่ 1 ผลลัพธ์จาก code17-1

[TH] ESP8266 and 3-Axis Digital Accelerometer

บทความนี้แนะนำการใช้เซ็นเซอร์การเคลื่อนที่ หรือการขยับใน 3 แกนแบบดิจิทัลที่ใช้ไอซี MMA7660FC ซึ่งทำให้เราทราบว่าโมดูลนี้ขยับไปทางซ้าย/ขวา หน้า/หลัง หรือบน/ล่าง หรือเกิดการหมุนซ้าย/ขวา หน้า/หลัง และบน/ล่าง โดยในบทความได้สร้างไลบรารีเพื่อเปิดการทำงานของเซ็นเซอร์ กำหนดอัตราการทำแซมปลิง (sample rate) และทำการแปลงค่าที่ได้จากโมดูลมาแสดงผล

ภาพที่ 1

[TH] ESP8266 and I2C LCD 16×2

บทความนี้เป็นการเขียนไลบรารีเพื่อสั่งงานโมดูลแอลซีดีตัวอักษรโดยใช้การสั่งงานผ่านบัส I2C ซึ่งเลือกใช้โมดูล PCF8574 ที่ออกแบบมาเพื่อเชื่อมต่อกับแอลซีดี ทำให้สามารถใช้ขาสั่งงาน 2 ขาจาก ESP8266 ต่อสั่งงานโมดูลแอลซีดีได้ 8 ขา คือ RS, R/W, EN, A, D0, D1, D2 และ D3 พร้อมทั้งสามารถเปิด/ปิดการใช้แสงส่องหลังโมดูลแอลซีดีและปรับความชัดของตัวอักษรของโมดูลแอลซีดีได้จากตัวต้านทานปรับค่าได้ที่อยู่บนโมดูล PCF8574

ภาพที่ 1

[TH] ESP8266 RoboCar+Ultrasonic Sensor

บทความนี้เป็นตัวอย่างการนำหุ่นยนต์รถที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์แบบเซอร์โวดังที่กล่าวไปในบทความก่อนหน้านี้มาใช้งาน โดยในบทความนี้ใช้การเคลื่อนที่ด้วยการกำหนดกฎการเคลื่อนที่ภายใต้การตัดสินใจเรื่องระยะทางที่อ่านได้จากเซ็นเซอร์วัดระยะทางอย่าง Ultrasonic Sensor

ภาพที่ 1