[TH] Digital Compass Sensor

บทความนี้เป็นการอธิบายการใช้งานเซ็นเซอร์เข็มทิศดิจิทัลรุ่น GY-271 ด้วยภาษาไพธอนของ MicroPython เพื่อใช้งานกับ ESP8266 หรือ ESP32 (และได้ทดลองกับ STM32F411CEU6 กับ Raspberry Pi 3B+ และ 4B แล้วสามารถใช้งานได้เหมือนกัน) เพื่อตั้งค่าการทำงานและอ่านค่าแกน X,Y และ Z จากเซ็นเซอร์ หลังจากนั้นนำมาคำนวณเป็นค่าองศาของทิศเหนือ

ภาพที่ 1 ทดลองใช้ GY-271

[TH] VisionRobo Car: Drive Motor

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเพื่อขับเคลื่อนหุ่นยนต์เคลื่อนที่ด้วยล้อ โดยตัวหุ่น VisionRobo car เป็นชุดหุ่นยนต์ที่ติดตั้งการเคลื่อนที่ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงที่ติดกับชุดเฟืองจำนวน 2 ล้อ ใช้วงจรขับมอเตอร์กระแสตรงต่อเข้ากับบอร์ด Raspberry Pi และต่อโมดูลกล้องแบบ USB WebCamera และโมดูล Ultrasonic Sensor เพื่อใช้ในการประมวลผลภาพ และคำนวณระยะห่างของตัวหุ่นยนต์กับวัตถุรอบตัว

ภาพพที่ 1 VisionRobo car

[TH] Raspberry Pi & Ultrasonic Sensor

บทความนี้กล่าวถึงการใช้โมดูล Ultrasonic กับบอร์ด Raspberry Pi (บทความก่อนหน้านี้ใช้กับ ESP8266) ด้วยภาษาไพธอนเพื่อแสดงระยะห่างจากเซ็นเซอร์กับวัตถุที่พบได้ใกล้ที่สุด

ภาพที่ 1 VisionRobo ที่ติดตั้งโมดูล Ultrasonic Sensor

[TH] QRCode Detected!

บทความนี้อธิบายวิธีการใช้ OpenCV เพื่อค้นหา QRCode จากภาพที่ได้จาก Web Camera ที่พ่วงต่อจากพอร์ต USB ของ Raspberry Pi เมื่อพบ QRCode ในภาพจะทำการถอดรหัสและแสดงผลข้อความที่ถอดรหัสได้ โดยตัวอย่างของบทความนี้ประกอบด้วยตัวอย่างการอ่านแสดงผลจากกล้องเว็บ และออกจากโปรแกรมด้วยการกดแป้น ESC กับตัวอย่างการค้นหารหัส QRCode และถอดรหัสข้อความภายในภาพพร้อมจัดเก็บผลลัพธ์ของภาพลงไฟล์ภาพ

ภาพที่ 1

[TH] Speech to Text & Text to Speech

บทความนี้เป็นตัวอย่างการประยุกต์ใช้ภาษาไพธอนเพื่อเรียกใช้บริการการแปลงเสียงพูดเป็นข้อความหลังจากนั้นส่งข้อความไปให้บริการแปลงข้อความเป็นเสียงของ Google สร้างไฟเสียง mp3 กลับมา สุดท้ายใช้ pygame เล่นเสียงพูดออกทางลำโพง โดยทำงานบนระบบปฏิบัติการ Windows

[TH] Data Science Ep1 Pandas

บทความนี้เป็นการใช้งานคลังไลบรารี Pandas ของภาษาไพธอนโดยใช้บอร์ด Raspberry Pi 3 B+ เป็นอุปกรณ์ทำงาน โดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานกับไพธอนของระบบปฏิบัติการ Windows, macOS หรือ Linux ได้ ซึ่งบทความนี้จะแบ่งเป็นหลายตอนเหมือนกับคลังไลบรารี ulab ที่ผ่านมา โดยในบทความตอนที่ 1 กล่าวถึงคุณสมัติของ Pandas, การติดตั้ง และโครงสร้างข้อมูลของ Pandas

[TH] Reading the Accelerator sensor with raspberry pi via I2C Bus.

บทความนี้เป็นการนำโมดูลเซ็นเซอร์การเคลื่อนที่ หรือการขยับใน 3 แกนแบบดิจิทัลที่ใช้ไอซี MMA7660FC ที่ได้เขียนถึงในบทความก่อนหน้านี้มาติดตั้งกับบอร์ด Raspberry Pi และเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเพื่อเชื่อมต่อและอ่านค่ามาแสดงผล

ภาพที่ 1